ค้นหา


รายการที่พบทั้งหมด 37,605 รายการ


รายงานการเดินทางไปราชการ ณ ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส   ๑.      ชื่อโครงการ การประชุมสมัยสามัญของยูเนสโก ครั้งที่ ๓๗ ๒.      วัตถุประสงค์ เพื่อเข้าร่วมการประชุมคณะกรรมการด้านวัฒนธรรม ในการประชุมสมัยสามัญของยูเนสโก ครั้งที่ ๓๗ ๓.      กำหนดเวลา ระหว่างวันที่ ๑๓ ถึง ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ ๔.      สถานที่ สำนักงานใหญ่ยูเนสโก กรุงปารีส ประเทศสาธารณรัฐฝรั่งเศส ๕.      หน่วยงานผู้จัด องค์การศึกษา วิทยาศาสตร์ และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ๖.      หน่วยงานสนับสนุน ๗.      กิจกรรม เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการด้านวัฒนธรรม ๘.      คณะผู้แทนไทย ๘.๑   นางจันทร์สุดา รักษ์พลเมือง รองปลัดกระทรวงวัฒนธรรม   หัวหน้าคณะ ๘.๒   นางสาวิตรี  สุวรรณสถิต         ที่ปรึกษากระทรวงวัฒนธรรม ๘.๓   นายเอนก สีหามาตย์          อธิบดีกรมศิลปากร ๘.๔   นายดำรง ทองสม          รองอธิบดีกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ๘.๕   นางสาวดารุณี  ธรรมโพธิ์ดล          ผู้อำนวยการสำนักความสัมพันธ์ต่างประเทศ สำนักปลัดกระทรวงวัฒนธรรม                          ๘.๖   นางนงคราญ  สุขสม          ผู้อำนวยการอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย กรมศิลปากร ๘.๗   นางสาวหัทยา สิริพัฒนากุล         ภูมิสถาปนิกชำนาญการ สำนักสถาปัตยกรรม กรมศิลปากร ๘.๘   นางสาวเบ็ญจรัศม์ มาประณีต          นักวิชาการวัฒนธรรมชำนาญการ กรมส่งเสริมวัฒนธรรม   ๙.      สรุปสาระของกิจกรรม             การประชุมดังกล่าวมีวาระการประชุมที่เป็นสาระหลักในการประชุมซึ่งเกี่ยวข้องกับงานด้าน           วัฒนธรรม และกรมศิลปากร ดังนี้           ๙.๑  การพิจารณาและรับรองร่างโครงการและงบประมาณสำหรับ พ.ศ.๒๕๕๗- ๒๕๖๐                 (ค.ศ.๒๐๑๔ – ๒๐๑๗) งบประมาณรวมทั้งสิ้น ๑๐๐,๗๒๓,๗๐๐ บาท โดยมีการ                 พิจารณาโครงการหลักที่สำคัญ ได้แก่ การสร้างสันติภาพและการพัฒนาอย่างยั่งยืนบน                 ฐานของมรดกวัฒนธรรมและการสร้างสรรค์            ๙.๒   การพิจารณาความกังวลของรัฐภาคีในข้อเสนอการฉลองครบรอบ ๒ ปี ระหว่าง พ.ศ.                  ๒๕๕๗-๒๕๕๘            ๙.๓   กรุงเยรูซาเลมและการดำเนินการตามข้อมติที่ 36 C /Resolution 43            ๙.๔   การขอจัดตั้งศูนย์ประเภทที่ ๒ ขององค์การยูเนสโก (Category 2 centres under  the auspices of UNESCO) ซึ่งเป็นศูนย์ของยูเนสโกที่ดำเนินการโดยใช้งบประมาณของรัฐภาคีเพื่อแสดงถึงการมีส่วนร่วมในการส่งเสริมงานขององค์การยูเนสโก            ๙.๕   การพิจารณารายงานการประชุมของเวทีเยาวชน ครั้งที่ ๘ (Youth Forum) ซึ่งจัด                    ประชุมก่อนหน้าการประชุมสมัยสามัญ ระหว่างวันที่ ๒๙-๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๖ สำหรับประเทศไทยมีเยาวชนเข้าร่วมจำนวน ๑ คน            ๙.๖   การพิจารณาขอเสนอในการจัดตั้งศูนย์ประเภทที่ ๒ ของประเทศอาร์เจนติน่า            ๙.๗   การศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิคและกฎหมายในเบื้องต้นสำหรับการกำหนดมาตรฐานในการปกป้องคุ้มครอง และสนับสนุนงานด้านพิพิธภัณฑ์       ทั้งนี้ ผู้แทนไทยได้แสดงความคิดเห็น ๒ ครั้ง ได้แก่ ในวาระที่ตามข้อที่ ๙.๑ และ วาระ       ตามที่ตามข้อที่ ๙.๗ รายละเอียด ดังแนบ                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                     ๑๐.  ข้อเสนอแนะจากการจัดกิจกรรม ๑๐.๑  กรม       ศิลปากรมีความเห็นว่าควรมีการจัดตั้งศูนย์ประเภทที่ ๒ ของยูเนสโกในประเทศ          ไทยโดยเป็นศูนย์ระดับอาเซียน และเอเชียแปซิฟิกเพื่อการฝึกอบรมด้านโบราณคดีใต้          น้ำ ซึ่งสำนักงานยูเนสโกกรุงเทพฯ ได้สนับสนุนให้กลุ่มโบราณคดีใต้น้ำได้รับการจัดตั้ง          เป็นศูนย์ประเภทนี้  โดยกรมศิลปากรจะพิจารณาแนวทางการจัดตั้งศูนย์ประเภทที่ ๒          ของรัฐภาคีอื่นๆ เช่น ประเทศแอลจีเรียที่เสนอขอจัดตั้งศูนย์ภูมิภาคว่าด้วยการ       /ปกป้องคุ้มครอง……… - ๓ –            ปกป้องคุ้มครองมรดกวัฒนธรรมที่จับต้องไม่ได้ในทวีปแอฟริกา เพื่อนำมาประยุกต์ใช้          กับการจัดตั้งศูนย์ฯของกรมศิลปากรในอนาคตต่อไป   ๑๐.๒ งานด้านพิพิธภัณฑ์ ควรมีการพิจารณาข้อเสนอในการศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิคและกฎหมายในเบื้องต้นสำหรับการกำหนดมาตรฐานในการปกป้องคุ้มครอง และสนับสนุนงานด้านพิพิธภัณฑ์เพื่อนำมาปรับใช้กับงานของกรมศิลปากรและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องภายในกระทรวงวัฒนธรรม


  ***บรรณานุกรม***  พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว  พระพุทธเจ้าตรัสรู้อะไร พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ นายเซ็งจือ ลือประเสริฐ ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส  วันที่ 25 พฤศจิกายน พุทธศักราช 2522 พระนคร  โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2522


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยอีสานหัวเรื่อง                          ทาน                                    แง่ศาสนา                                    พุทธศาสนาประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    18 หน้า : กว้าง 5 ซม. ยาว 59 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับชาดทึบ ได้รับบริจาคมาจากพระอธิการเด่น ปญฺญาทีโป วัดคิรีรัตนาราม  ต.ดอนคา อ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี ดำเนินการอนุรักษ์เมื่อวันที่ 31 มีนาคม 2534


หมวดหมู่                        พุทธศาสนาภาษา                            บาลี/ไทยหัวเรื่อง                          พุทธปรัชญา                                    อริยสัจ                                    ธรรมเทศนาประเภทวัสดุ/มีเดีย            คัมภีร์ใบลานลักษณะวัสดุ                    32 หน้า : กว้าง 4.5 ซม. ยาว 57 ซม. บทคัดย่อ                      เป็นคัมภีร์ใบลาน อักษรขอม เส้นจาร ฉบับล่องชาด ได้รับบริจาคมาจากพระครูวิมลสังวร วัดแค ต.รั้วใหญ่ อ.เมืองฯ จ.สุพรรณบุรี



เลขทะเบียน : นพ.บ.60/3ห้องจัดเก็บ : ศรีโคตรบูรณ์ประเภทสื่อ : เอกสารโบราณหมวดหมู่ : พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ :  38 หน้า ; 3.7 x 53 ซ.ม. : ล่องชาด-ล่องรัก ; ไม้ประกับธรรมดา ชื่อชุด : มัดที่ 39 (382-387) ผูก 3หัวเรื่อง :  สังฮอมธาตุ --เอกสารโบราณ             คัมภีร์ใบลาน             พุทธศาสนาอักษร : ธรรมอีสานภาษา : ธรรมอีสานบทคัดย่อ : มีเนื้อหาเกี่ยวกับพุทธศาสนา  สามารถสืบค้นได้ที่ห้องศรีโคตรบูรณ์ หอสมุดแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ นครพนม



ชื่อผู้แต่ง  สุนทรภู่ชื่อเรื่อง  สุภาษิตอิศรญาณ สวัสดิรักษาคำกลอน เพลงยาวถวายโอวาท สุภาษิตสอนสตรีครั้งที่พิมพ์  -สถานที่พิมพ์  มปพ.สำนักพิมพ์  มปท.ปีที่พิมพ์  ๒๕๒๔จำนวนหน้า  ๔๗ หน้าหมายเหตุ  พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ นายณรงค์ มณีสวัสดิ์ ณ ฌาปนสถานวัดดอนเมือง             วันที่ ๒๙ ธันวาคม ๒๕๒๔              สุภาษิตอิศรญาณ หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เพลงยาวเจ้าอิศรญาณ ซึ่งเพลงยาวฉบับนี้เขียนเป็นสุภาษิตสอนใจ มีข้อความบางตอนที่เขียนได้คมคาย             สวัสดิรักษาคำกลอน สุนทรภู่แต่งเพื่อถวายสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอเจ้าฟ้าอาภรณ์ ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศล้านภาลัย ทรงมอบให้เป็นศิษย์ศึกษาอักขรสมัยในสำนักสุนทรภู่           เพลงยาวถวายโอวาท สุนทรภู่แต่งในรัชกาลที่ ๓ และแต่งเพลงยาวบทนี้เพื่อทูลลาและถวายโอวาทเจ้าฟ้าซึ่งเป็นศิษย์ทั้งสอง           สุภาษิตสอนสตรี สุนทรภู่แต่งเพื่อสำหรับสอนสตรีทั่วไป มิได้แต่งให้แก่ผู้หญิงผู้ใด



เอกรัฐ คำวิไล.หน้าฝน ปลอดโรค ปลอดภัย.จันท์ยิ้ม.(5):2;มิ.ย.-ก.ค.60.           พอย่างเขาฤดูฝนในเมืองจันท์ ช่วงประมาณกลางเดือน พฤษภาคม ถึง กลางเดือนตุลาคม จะได้เห็นภาพรอยยิ้มของชาวสวนผลไม้ เพราะถือเป็นช่วงเวลาทองที่จะเก็บเกี่ยวรายได้จากการขายผลผลิต ซึ่งปีหนึ่งจะมีเพียงครั้ง แต่ทุกครั้งที่ถึงฤดูการนี้ก็จะมีโรคภัยไข้เจ็บตามมามากกว่าปกติ



ชื่อผู้แต่ง         :  พระมงคลทิพมณี   ชื่อเรื่อง           : การปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทสมัย ร.๕   ครั้งที่พิมพ์       : -   สถานที่พิมพ์    : กรุงเทพฯ   สำนักพิมพ์       : บริษัท ศรีอนันต์การพิมพ์ จำกัด   ปีที่พิมพ์           : 2536   จำนวนหน้า       : 343 หน้า   หมายเหตุ         : หนังสือที่ระลึกในงานออกพระเมรุพระราชทานเพลิงศพพระราชรัตนกวี ( เสวก ธมมฺวโร )                             หนังสือการปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทสมัย ร.5เป็นหนังสือรายงานการปฎิสังขรณ์พระพุทธบาทของพระพุฒาจารย์( มา ) สมัยดำรงพระสมณศักดิ์ พระมงคลทิพมณีอดีตเจ้าอาวาสวัดจักรวรรดิราชาวาส มีลิขิตรายงานแก่ ร.5ให้ทรงทราบเป็นคราวๆไป





Messenger