ความรู้ทั่วไป


ไม่มีข้อมูล
img_cover

ความรู้เรื่องประเพณีลอยกระทง ตอนที่ 1 เรื่อง "ลอยกระทงมีมาแต่เมื่อไร ทำเพื่ออะไร"
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๒๔ บทความเรื่อง น้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณ
สำหรับบทความสัปดาห์นี้จัดทำขึ้น เพื่อน้อมรำลึกในพระมหากรุณาธิคุณของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง เนื่องในวโรกาสวันแม่แห่งชาติ ประจำปีพุทธศักราช ๒๕๖๔ หอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ สงขลา ขอนำเสนอภาพถ่ายการจัดงานวันแม่แห่งชาติ และภาพถ่ายจดหมายเหตุพระราชกรณียกิจ ชุด “สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง ณ เมืองสงขลา” เรียบเรียงโดย : นางพัชรินทร์ ลั้งเเท้กุล หัวหน้าหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา กราฟิก เเละภาพประกอบ โดย นายวีรวัฒน์ เหลาธนู นักจดหมายเหตุปฏิบัติการ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๒๐ บทความเรื่อง “วันสงขลา” และ “ศาลหลักเมืองสงขลา”
บทความ เรื่อง วันสงขลาและศาลหลักเมืองสงขลา โดย นางพัชรินทร์ ลั้งเเท้กุล นักจดหมายเหตุชำนาญการ หัวหน้าหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความเเละองค์ความรู้ หจช.สงขลา ลำดับที่ ๐๑๖ จากสุนทรภู่ ถึง ก. แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง
ก่อนจะเข้าสู่บทความแอดมิน วีรวัฒน์ ขอให้ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ "นิราศ" ก่อนครับ นิราศ...คือ เรื่องราวที่พรรณนาถึงการจากกันหรือจากที่อยู่ไปในที่ต่าง ๆ เป็นต้น มักแต่งเป็นกลอนหรือโคลง เช่น นิราศนรินทร์ นิราศเมืองแกลง นิราศ...มักถูกพบ เเละเก็บรักษาไว้ในเเหล่งเรียนรู้ที่สำคัญทางประวัติศาสตร์ เช่น ห้องสมุด หอสมุดแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ นักสะสมหนังสือ นักสะสมวรรณกรรมท้องถิ่น พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น นิราศ...ถูกโต้เเย้งว่าจะเก็บไว้หอสมุดหรือหอจดหมายเหตุ นิราศ...ถ้าเป็นต้นฉบับ เป็นลายมือเขียน รับมอบมาโดยตรง จะถูกเก็บรักษาไว้ในหอจดหมายเหตุ นิราศ...ที่เป็นหนังสือ จัดพิมพ์ ทำซ้ำ สำเนา หรือพิมพ์เป็นหนังสืองานศพ จะถูกจัดเก็บในหอสมุดแห่งชาติ ฉบับพิมพ์ใหม่จะอยู่ในหมวดวรรณกรรมให้บริการในห้องหนังสือทั่วไป แต่ถ้าเป็นฉบับพิมพ์เก่า จะอยู่ใน ส่วนของหนังสือท้องถิ่น หนังสืองานศพ หนังสือหายาก นิราศ...ถ้าถูกจัดเก็บสะสมโดยบุคคลเเละถูกส่งมอบต่อ ติดมาพร้อมเอกสารจดหมายเหตุที่บุคคลนั้นมอบให้ หรือประสงค์ให้กับหอจดหมายเหตุ หรืออาจติดปะปนหนังสือราชการซึ่งผู้ปฏิบัติงานนั้นสะสมไว้ จะคัดเเยกเเละถูกเก็บไว้ในหอจดหมายเหตุ ใน ประเภท หนังสือหายาก นิราศ...เป็น สารสนเทศ เพื่อการเผยแพร่ จัดเป็นสารสนเทศมรดกทางวัฒนธรรม ไม่แตกต่างกับ นวนิยาย หรือวรรณกรรมอิงประวัติศาสตร์ เเต่ก็สามารถใช้ข้อมูล วันเวลา สถานที่เหตุการณ์ที่เกิดขึ้นได้ นิราศ...ที่ถูกจัดเก็บในหอจดหมายเหตุส่วนบุคคลนิราศก็จะกลายเป็นมรดกของบุคคลนั้น ที่เอามาเก็บในหอจดหมายเหตุเพื่อแสดงอัตลักษณ์ ว่า เขาผู้นั้น เป็นคนที่ชอบสะสม หนังสือนิราศ หรือวรรณกรรมต่าง ๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง นิราศเทพา พบได้จากการสะสมของนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์ หัวหน้างานจดหมายเหตุและพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา ที่ได้เเบ่งปันข้อมูล ในทางกลับกัน ถ้านิราศนั้น คนสะสมหรืออาจารย์จรัส เป็นคนเขียนเป็นต้นฉบับ ก็กลายเป็นงานของเขา นิราศจะกลายเป็นจดหมายเหตุ ประเภทมรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) ซึ่งเอกสารจดหมายเหตุ (ARCHIVES) มาจาก เอกสารราชการ (RECORDS) + มรดกทางวัฒนธรรม (CUTURAL HERITAGE) นิราศ...ในความเห็นแอดมิน สามารถตีความได้กับการบันทึกเหตุการณ์สำคัญในขณะนั้น เพราะปรากฎ วัน เวลา สถานที่ เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ ต่างเพียงเเค่ใช้ลีลาการเรียบเรียง โดยใช้ร้อยกรอง เช่นกลอน โคลง เเทนการใช้ร้อยเเก้วเรียบเรียงโดยการบันทึกเหตุการณ์ นิราศ...สามารถนำข้อมูลมาเติมเต็มข้อมูลชั้นต้นทางประวัติศาสตร์ หรือเอกสารจดหมายเหตุได้ ถ้านิราศนั้นเขียนในสมัยบุคคลสำคัญทางประวัติศาสตร์นั้นๆ เช่น นิราศทุ่งหวัง ประพันธ์โดยกระจ่าง แสงจันทร์ (ก. แสงจันทร์) ครูผู้ถวายพระอักษรพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าอนุสรมงคลการ เมื่อครั้งที่สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ ดำรงตำแหน่งอุปราชมณฑลปักษ์ใต้ ก็สามารถนำนิราศมาเติมเต็มเอกสารจดหมายเหตุในสมัยนั้นที่ขาดหายหรือไม่ได้กล่าวถึงในเอกสารราชการนั้นได้ นิราศ...จึงไม่เป็นเพียงเเค่วรรณกรรมที่เขียนถึงคนรัก หรือเรื่องเชิงสังวาส ดังเช่น นิราศทุ่งหวังนี้ ให้ประโยชน์ในการบันทึกเรื่องราวระหว่างการเดินทางลักษณะทางภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ เรื่องราวท้องถิ่น ดังพระประสงค์ ของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ายุคลทิฆัมพร กรมหลวงลพบุรีราเมศวร์ สนจิตคิดแต่ถ้อย ระยะทาง ไม่ประสงค์ถึงนาง แน่งน้อย นักอ่านอย่าอางขนาง โอษฐ์ขนาบ นาพ่อ ผิวผิดคำถ้อย ขัดข้อง ขออภัย สรุปว่า เราจะพบนิราศเก็บรักษาในห้องสมุดมากกว่าเเหล่งอื่นใด และพบอยู่ในนักสะสมที่มีหอจดหมายเหตุส่วนบุคคล จนกว่าท่านนั้นจะส่งมอบหรือประสงค์มอบให้กับหอจดหมายเหตุเพื่อใช้เติมเติมเอกสารจดหเป็นจดหมายเหตุ หรือท่านนั้น เป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุกับหอจดหมายเหตุนั้น ๆ ดังที่นายวีรยุทธ พุทธธรรมรงค์ นักจดหมายเหตุ นำเสนอ บทความ เรื่อง จากสุนทรภู่ ถึง กระจ่าง แสงจันทร์ ๑๐๐ ปี นิราศเทพา และนิราศทุ่งหวัง ที่ได้ข้อมูลจากนายจรัส จันทร์พรหมรัตน์หัวหน้างานจดหมายเหตุเเละพิพิธภัณฑ์เพื่อการศึกษาโรงเรียนมหาวชิราวุธ สงขลา (นักสะสม) เเละนายวุฒิชัย เพชรสุวรรณ ศึกษานิเทศก์ชำนาญการพิเศษ อบจ. สงขลา เก็บข้อมูลเชิงประวัติศาสตร์ตามรอยการเสด็จ ซึ่งทั้งสองเป็นเครือข่ายงานจดหมายเหตุ ของหอจดหมายเหตุแห่งชาติเฉลิมพระเกียรติฯ สงขลา ติดตามได้จากบทความนี้ใน แผ่นภาพบทความที่เเนบในอัลบั้มนี้
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สิ่งของเครื่องใช้ในอดีตจากเอกสารจดหมายเหตุ เครื่องรับวิทยุสาธารณะ แบบ ๔ หลอด ณ ที่ว่าการอำเภอขลุง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พะหมี : ปริศนาคำทาย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประชาธิปไตยสมมุติในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 6
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

20 กันยายน วันเยาวชนแห่งชาติ วันพระราชสมภพสองยุวกษัตริย์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระแว่นสูรยกานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ ๒ พระราชินีผู้ยิ่งใหญ่แห่งสหราชอาณาจักร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันที่ ๖ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๒๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทรัพยศาสตร์ ตำราเศรษฐศาสตร์เล่มแรกของไทย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ยาม: เรื่องราวของคนเล็ก ๆ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

การสำรวจการเพาะปลูกกัญชาในจันทบุรี พุทธศักราช ๒๔๗๔-๒๔๗๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

คาร์โล ริโกลี กับผลงานจิตรกรรมฝาผนังในพระอุโบสถวัดราชาธิวาสวิหาร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระแสงขรรค์ชัยศรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระสุวรรณมาลา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระสุวรรณภิงคาร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะอยุธยาตอนต้น
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระคชาธารจำลอง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ฉลองพระบาททองคำจำลอง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

จารึกโคมป่องทรงปราสาท
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันคล้ายวันถึงแก่พิราลัย เจ้าจักรคำขจรศักดิ์ เจ้าผู้ครองนครลำพูนองค์สุดท้าย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สิงโตในวัฒนธรรมจีน
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เลาะริมโขง เบิ่งสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น"ที่รัตนวาปี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

หม่อมราชวงศ์สาทิส กฤดากร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

หม่อมราชวงศ์ถนอมศักดิ์ กฤดากร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

สุภาพสตรี (หม่อมปริม บุนนุค)
รายละเอียดเพิ่มเติม
ไม่มีข้อมูล
img_cover

ไหว้พระสุขใจ ณ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ในวันสงกรานต์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทางรถไฟสายสวรรคโลก
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

รายการ ไขความรู้จากครูกรมศิลป์ “เรียนรู้ประวัติศาสตร์ผ่านบ้านพระยากำธรพายัพทิศ”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ศรีวิชัยในกาลเวลา ตอน : ศรีวิชัยในความทรงจำของพระภิกษุอี้จิ้ง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

นิทรรศการเฉลิมพระเกียรติพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา ๓ มิถุนายน ๒๕๖๕
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เรื่องราวของโค
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระชัยเมืองนครราชสีมา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วัฒนธรรมอันล้ำค่าของชาวล้านนาไทย เรื่อง ฟ้อนเจิง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วันดำรงราชานุภาพ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เกาะยอ สวรรค์ของนักถีบ (ปั่น)
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ตลาดวโรรสและความคึกคักในอดีต
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทุ่งเขางูราชบุรี...ถิ่นนี้มีเรื่องเล่า
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

พระบาทพลวง หรือ พระพุทธบาทพลวง แรงศรัทธาหลั่งไหลสู่เขาพระบา
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

“สมเด็จพระนเรศวร” พระนามแปลกปลอมของ “สมเด็จพระนเรศ”
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

วี.ไอ.พี. ยุคก่อนประวัติศาสตร์
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ชาวมุสลิมดาวูดี โบห์รา (Dawoodi Bohra) กับพื้นที่ย่านตึกขาว เขตคลองสาน
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

บทความทางวิชาการ เรื่อง ประติมากรรมพุทธประวัติ มณฑปทิศ พระปรางค์วัดอรุณราชวราราม ราชวรมหาวิหาร โดย ดร.ภัทรวรรณ พงศ์ศิลป์ นักโบราณคดีชำนาญการ
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ประติมากรรมดินเผารูปคนจูงลิง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

งานประเพณีทิ้งกระจาด จังหวัดสุพรรณบุรี
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

แม่ปุกสุขสวรรค์
แม่ปุกสุขสวรรค์ งานค้าอักษรเขียนกลอนขายของคุณพุ่มที่ยังไม่พิมพ์เผยแพร่
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

"พระจิตรลดา" พระพิมพ์ในหลวงรัชกาลที่ ๙ ทรงสร้าง
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เล่าเรื่องประติมานวิทยา: วัชรหุงการมุทรา/วัชรหูงการมุทร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

เล่าเรื่องประติมานวิทยา: วิชาธร/วิทยาธร
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ภาพถ่ายเก่าเมืองร้อยเอ็ด ตอน ศาลากลางจังหวัดร้อยเอ็ดหลังที่ ๒
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ทุ่งกุลาร้องไห้ : จุดบรรจบของโลกหลังความตาย
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

ตุงกระด้าง
ตุงกระด้าง ตุง เป็นเครื่องสักการะในพระศาสนาและประเพณีที่สำคัญของภาคเหนือ มักจะทำด้วยผ้าฝ้าย ไหม มีความยาวความกว้างต่างกัน มักจะผูกติดกับเสาผูกเชือกห้อยลงมา ซึ่งมีลักษณะชื่อเรียกแตกต่างกันไปตามวัสดุหรือการใช้งานในโอกาสต่างๆ เช่น ตุงสามหาง ใช้ในพิธีศพ ตุงชัย ใช้ในงานปอยหลวงหรืองานเฉลิมฉลอง ตุงไส้หมู สำหรับบูชาพระเจดีย์ เป็นต้น ตุงกระด้าง หมายถึงตุงที่ทำขึ้นจากวัสดุที่มีความแข็งแรง คงทน ตุงกระด้างมักมีขนาดใหญ่ตั้งอยู่ในวิหารด้านหน้าพระประธาน สูงประมาณ ๒ เมตร หรือถ้าตั้งอยู่นอกวิหาร ทำด้วยเสาก่ออิฐถือปูนก็มักจะสูงถึง ๙ เมตร ส่วนยอดมักทำเป็นรูปสัตว์ต่างๆ เช่นนกหัสดีลึงค์ หงส์ ด้วยมีขนาดที่ใหญ่สันนิษฐานว่าการสร้างตุงกระด้างถวายวัดจะต้องเป็นบุคคลที่มีทุนทรัพย์และใช้ความสามารถของเชิงช่างสูง อ้างอิง มณี พะยอมยงค์ และศิริรัตน์ อาศนะ. เครื่องสักการะในล้านนาไทย. เชียงใหม่: ส.ทรัพย์การพิมพ์, ๒๕๓๘.
รายละเอียดเพิ่มเติม
img_cover

"เดชพิรุฬห์" สระน้ำที่ลึกที่สุดในไทย! + สาธิตการทำงานโบราณคดีใต้น้ำ (เบื้องต้น)
รายละเอียดเพิ่มเติม
Messenger