ค้นหา

รายการที่พบทั้งหมด 41,284 รายการ

ชื่อเรื่อง                         ธมฺมปทวณฺณนา ธมฺมปทฏฺธกถา ขุทฺทกนิกายฏฺธกกา (ธมฺมฺปทขั้นปลาย)อย.บ.                            241/11หมวดหมู่                       พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ                  56 หน้า กว้าง 5 ซม. ยาว 58.5 ซม.หัวเรื่อง                         พระธรรมเทศนา                                                                       บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน ฉบับทองทึบ ไม้ประกับธรรมดา


ชื่อเรื่อง                  สพ.บ. 427/2 พระเจ้าห้าสิบชาติ (ห้าสิบชาติ)สพ.บ.                    427/2ประเภทวัสดุมีเดีย      คัมภีร์ใบลานหมวดหมู่                 พุทธศาสนาลักษณะวัสดุ             52 หน้า กว้าง 4.5 ซม. ยาว 59 ซม.หัวเรื่อง                   พุทธศาสนา                            ชาดก                     บทคัดย่อ/บันทึก          เป็นคัมภีร์ใบลาน ได้รับบริจาคมาจากวัดลานคา ต.โคกคราม อ.บางปลาม้า จ.สุพรรณบุรี


เมืองโบราณยะรัง Ep.4 เมืองโบราณยะรัง : โบราณสถานและโบราณวัตถุชิ้นพิเศษ --------------------------------------------------------------- สำหรับหัวข้อที่จะมานำเสนอในวันนี้ คือ เมืองโบราณยะรัง : โบราณสถานและโบราณวัตถุชิ้นพิเศษ จะมีเนื้อหาจะเป็นอย่างไรนั้นเชิญติดตามรับชมกันได้เลยค่ะ   --------------------------------------------------------------- Ep.1 เมืองโบราณยะรัง : เมืองโบราณสำคัญในพื้นที่ 3 จังหวัดชายแดนใต้ https://www.facebook.com/fad11songkhla/posts/628320109334790 Ep.2 เมืองโบราณยะรัง = ลังกาสุกะ? https://www.facebook.com/fad11songkhla/posts/pfbid023vs8jRqA2iqonHKfjBgCMWEC6GfQLWyYHFy8ogMX3RVt1UG1uy2pSNVxkd2s9BT6l Ep.3 เมืองโบราณยะรัง : การดำเนินงานทางด้านโบราณคดี https://www.facebook.com/fad11songkhla/posts/pfbid02yA8FEeS67MfC8HzjSBSYFYPtYd2b3nmNpXf9FQuwkajWb5X4woZgmPtHJ4vyyA8dl Ep.4 เมืองโบราณยะรัง : โบราณสถานและโบราณวัตถุชิ้นพิเศษ EP.5 เมืองโบราณยะรัง : การศึกษาตำแหน่งที่ตั้งโบราณสถานด้วยเทคโนโลยีไลดาร์ (Li-DAR) Ep.6 เมืองโบราณยะรัง : การศึกษาชายฝั่งทะเลโบราณอ่าวปัตตานี -------------------- เอกสารอ้างอิง  กระทรวงวัฒนธรรม กรมศิลปากร. พัฒนาการทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ ๓ จังหวัดชายแดนใต้. สงขลา : สำนักศิลปากรที่ 11 สงขลา, 2565. การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้, ศูนย์. ลุ่มน้ำตานี, ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2525 เขมชาติ เทพไชย, รายงานการสำรวจขุดค้นทางด้านโบราณคดี บริเวณเมืองโบราณยะรังและใกล้เคียง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, สงขลา : โครงการโบราณคดีประเทศไทย(ภาคใต้) กองโบราณคดี  กรมศิลปากร, 2528 เขมชาติ เทพไชย, “การวิจัยทางโบราณคดี ณ บริเวณเมืองโบราณยะรัง จังหวัดปัตตานี”, เอกสารหมายเลข 11 การสัมมนาวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้ครั้งที่ 1 ณ โรงแรมไทยโฮเต็ล นครศรีธรรมราช 18-20 กันยายน 2532 ชูสิริ จามรมาน, รายงานผลการวิจัยเรื่องการวิจัยข้อมูลทางศิลปะและโบราณคดี ณ เมืองโบราณที่อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี เพื่อศึกษาเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์, นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม, 2528 พรทิพย์ พันธุโกวิท, การศึกษาประติมากรรมสมัยทวารวดี ณ เมืองโบราณ อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต โบราณคดีสมัยประวัติศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร,2530 ภัคพดี อยู่คงดี, รายงานสังเขปผลการปฏิบัติงานทางวิชาการ โครงการขุดแต่งและบูรณะโบราณสถานเมืองยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2531 และครึ่งแรกของปีงบประมาณ 2532 ศิริพร ลิ่มวิจิตรวงศ์, รายงานการขุดค้นแหล่งโบราณคดีบ้านประแวในปีพ.ศ.2541  ศิลปากรที่ 11 สงขลา, สำนัก. รายงานผลการดำเนินงานโครงการศึกษาและขยายฐานความรู้เมืองโบราณยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี ปีงบประมาณ 2561, เอกสารอัดสำเนา, 2561 ศิลปากรที่ 11 สงขลา, สำนัก. พัฒนาการทางโบราณคดีและประวัติศาสตร์ 3 จังหวัดชายแดนใต้,สมุทรสาคร : บริษัท บางกอกอินเฮาส์ จำกัด,2565 สว่าง เลิศฤทธิ์, การสำรวจขุดค้นทางด้านโบราณคดีบริเวณเมืองโบราณยะรัง อำเภอยะรัง จังหวัดปัตตานี, ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2530 อนันต์ วัฒนานิกร, แลหลังเมืองตานี, ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2528 อิบรอฮิม ซุกรี(เขียน), หะสัน หมัดหมาน(แปล) ประพน เรืองณรงค์(เรียบเรียง), ตำนานเมืองปัตตานี (Sejarah Kerajaan Melayu Pattani), ปัตตานี : ศูนย์การศึกษาเกี่ยวกับภาคใต้ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 2525 อมรา ศรีสุชาติ.ศรีวิชัยในสุวรรณทวีป. กรุงเทพฯ:กรมศิลปากร,2557.


      พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง สำนักศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช จัดการบรรยายทางวิชาการออนไลน์สาธารณะ ประจำปี พ.ศ.2566 "คนพิพิธภัณฑ์อยากจะเล่า" ครั้งที่ 3 ขอเชิญร่วมฟังเรื่องเล่า ในหัวข้อ “นิทรรศการใหม่ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี” เล่าเรื่องโดย นางสาวเชาวนี เหล็กกล้า หัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี และนางสาวสิริภา เจริญเขต ภัณฑารักษ์ปฏิบัติการ พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ อุบลราชธานี ในวันอาทิตย์ที่ 18 มิถุนายน 2566 ตั้งแต่เวลา 10.00 น. เป็นต้นไป           ผู้สนใจสามารถติดตามชมการถ่ายทอดสดผ่านทาง facebook live : Thalang National Museum พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ ถลาง



ชื่อเรื่อง: จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝนของสมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เล่ม ๒ ผู้แต่ง: สมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ปีที่พิมพ์: พ.ศ. ๒๔๗๒สถานที่พิมพ์: พระนครสำนักพิมพ์: โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากรจำนวนหน้า: ๔๘ หน้า เนื้อหา: จดหมายเหตุบัญชีน้ำฝนของสมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ เล่ม ๒ เจ้าพระยาพลเทพ เสนาบดีกระเกษตราธิการ    พิมพ์ในงานพระราชพิธีจรดพระนังคัล ปี พ.ศ. ๒๔๗๒ พิมพ์ที่โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร ซึ่งสมเด็จพระมหาสมณะเจ้า กรมพระยาปวเรศวริยาลงกรณ์ทรงเริ่มจดในรัชกาลที่ ๓ ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๓๘๙ และทรงพระอุตสาหะจดเป็นรายวันตลอดมานับได้ ๔๕ ปี จนถึง พ.ศ. ๒๔๓๓ รวมกันได้ ๑๓ เล่มสมุดไทย ในหนังสือเล่มนี้เป็นบัญชีฝนตกตั้งแต่ปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๔๐๐ จนถึงปีขาล พ.ศ. ๒๔๐๙ รวม ๑๐ ปี โดยอธิบายเรื่องห่าฝน ปริมาณฝนที่ตกรายวัน ข้างขึ้นข้างแรมรายเดือน ทั้งยังได้จดหมายเหตุคล้ายกับปูมของโหรหลวงลงไว้ และทรงพระนิพนธ์โคลงไว้มีทุกเล่มสมุด จึงเห็นว่าเป็นตำราที่น่ารู้น่าอ่าน และจัดพิมพ์ให้แพร่หลาย เพื่อรักษาไว้มิให้สูญหาย    เลขทะเบียนหนังสือหายาก: ๙๐๔เลขทะเบียนหนังสืออิเล็กทรอนิกส์: E-book ๒๕๖๖_๐๐๑๘หมายเหตุ: โครงการจัดเก็บและอนุรักษ์หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ สื่อโสตทัศนวัสดุ และเอกสารโบราณ หอสมุดแห่งชาติรัชมังคลาภิเษก เชียงใหม่ ประจำปีงบประมาณ ๒๕๖๖


          พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ พระนครคีรี ขอเชิญชมการถ่ายทอดสด Facebook Live กิจกรรมบรรยายพิเศษเนื่องในวันพิพิธภัณฑ์ไทย เรื่อง "ยลโฉม (หน้า) ประติมา ทวารวดีชายฝั่งทะเลเพชรบุรี"  วิทยากรโดย นางสาวพยุง วงษ์น้อย รักษาการในตำแหน่งผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้านโบราณคดี (โบราณคดีและพิพิธภัณฑ์) (นักโบราณคดีทรงคุณวุฒิ) ในวันศุกร์ที่ ๑๕ กันยายน ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๑.๓๐ น.  ผู้สนใจสามารถติดตามชมได้ทาง Facebook Live : พระนครคีรี กรมศิลปากร


ชื่อเรื่อง                     ท้องถิ่นเมืองโบราณอู่ทอง รายวิชาประวัติศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ผู้แต่ง                       สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2ประเภทวัสดุ/มีเดีย       หนังสือท้องถิ่นISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์เลขหมู่                     959.373 ส691ทสถานที่พิมพ์               สุพรรณบุรีสำนักพิมพ์                 ม.ป.พ.ปีที่พิมพ์                    2551ลักษณะวัสดุ               54 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.หัวเรื่อง                     สุพรรณบุรี – ประวัติศาสตร์                              แบบเรียน                              อู่ทอง(สุพรรณบุรี) -- ประวัติศาสตร์ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก           จัดทำโครงการ “พัฒนาหลักสูตรท้องถิ่นเมืองโบราณอู่ทอง” มีเป้าหมายจัดทำหลักสูตรระดับท้องถิ่น  กำหนดเป็นระยะๆ ตามแนวการพัฒนาหลักสูตร กำหนดกรอบแนวการพัฒนา จัดทำลักษณะหน่วยการเรียนรู้สอดแทรกไว้ในรายวิชา ประวัติศาสตร์ ในระดับชันประถมศึกษาปีที่ 1 - 6      


         “จารึกเมืองศรีเทพ” ตามประวัติระบุว่า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงพบที่เมืองโบราณศรีเทพ เมื่อ พ.ศ. ๒๔๔๙ ตรงกับ ร.ศ.๑๒๕ เมืองศรีเทพปัจจุบันอยู่ในพื้นที่จังหวัดเพชรบูรณ์ จารึกนี้ส่งมาเก็บรักษาที่คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เมื่อวันที่ ๒๔ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๐           มีลักษณะเป็นเสากลมรูปคล้ายตะปูหัวเห็ดหรือคล้ายดอกบัวตูม ทำจากหินทรายเนื้อละเอียด จารึกอักษรปัลลวะ ภาษาสันสกฤต จำนวน ๑ ด้าน มี ๖ บรรทัด มีคำว่า “ขีลัง” ซึ่งแปลว่า “หลัก” โดยปรากฏในหนังสือเรื่อง เที่ยวที่ต่างๆ ภาค ๓ เล่าเรื่องเที่ยวมณฑลเพชรบูรณ์ พระนิพนธ์ในสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ หน้า ๒๐ ความว่า            “ ...ศิลาจารึกพบที่เมืองศรีเทพครั้งนี้แปลกมาก สัณฐานคล้ายตะปูหัวเห็ด ข้างปลายที่เสี้ยมแหลมเป็นแต่ถากโคลน สำหรับฝังดินขัดเกลี้ยง แต่ที่หัวเห็ดจารึกอักษรไว้ที่นั้นเป็นอักษรคฤนถ์ชั้นก่อนหนังสือขอม แต่ตรงที่จารึกแตกชำรุดเสียมาก ได้เอาศิลานี้มาที่กรุงเทพ (หอวชิรญาณ) ให้อ่าน ดูเป็นภาษาสันสกฤตมีคำว่า ขีลัง ซึ่งแปลว่าหลัก จึงเข้าใจว่าศิลาแท่งนี้คือหลักเมืองศรีเทพแบบโบราณ เขาทำเป็นรูปตะปูตอกไว้ลงในแผ่นดิน ประสงค์ว่าให้มั่นคง...”  และต่อมานายชะเอม แก้วคล้าย มีการอ่านชำระใหม่  เป็นคำว่า “ขิลํ” จากถ้อยความว่า “เวตฺตย ขิลํ สโจทฺยม” แปลว่า  เขาเป็นผู้รู้ความรุ่งเรืองทั้งสิ้น           เนื่องจากเนื้อหินด้านหนึ่งของจารึกแตกหาย ข้อความจารึกแต่ละบรรทัดจึงเหลืออยู่เฉพาะช่วงกลาง เนื้อหาที่เหลือโดยสรุปกล่าวถึงการสรรเสริญบุคคลว่าเป็นผู้เปี่ยมด้วยความรู้และยังเป็นผู้มีธรรม ซึ่งอาจเป็นพระราชาหรือเชื้อพระวงศ์ที่ปกครองเมืองศรีเทพ ในช่วงต้นพุทธศตวรรษที่ ๑๑     อ้างอิง กรมศิลปากร. “จารึกในประเทศไทย เล่ม ๑ อักษรปัลลวะ หลังปัลลวะ พุทธศตวรรษที่ ๑๒-๑๔”. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ภาพพิมพ์, ๒๕๒๙. ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา.  “เรื่องเที่ยวที่ต่าง ภาค ๓ เล่าเรื่องเที่ยวมณฑล เพชรบูรณ์และเรื่องความไข้ เมืองเพชรบูรณ์”. กรุงเทพฯ: วิศัลย์การพิมพ์, ๒๕๑๙.   ดูรายละเอียดสำเนาจารึกได้ที่ : ฐานข้อมูลเอกสารโบราณ จารึก สมุดไทย http://manuscript.nlt.go.th/.../ctrlObjec.../mid/1855/id/207 หรือติดตามอ่านได้ในหนังสือที่ระลึก “คลังกลางพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ”


ประกาศกรมศิลปากร เรื่อง รับสมัครคัดเลือกเพื่อจ้างบุคคลเป็นลูกจ้างชั่วคราว เงินนอกงบประมาณ (กองทุนโบราณคดี) ตำแหน่งพนักงานดูแลรักษาโบราณสถาน จำนวน ๑ อัตรา



ชื่อเรื่อง                    สพ.ส.1 พระวินัยปิฏกประเภทวัสดุ/มีเดีย       สมุดไทยขาวISBN/ISSN                 -หมวดหมู่                  ธรรมคดีลักษณะวัสดุ              144; หน้า : ไม่มีภาพประกอบหัวเรื่อง                    พระวินัยปิฏก                       ภาษา                       ไทยบทคัดย่อ/บันทึก                   ประวัติวัดลาวทอง ต.สนามชัย  อ.เมือง จ.สุพรรณบุรี มอบให้หอสมุดฯ วันที่ 15 ส.ค.2538 



    การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนรินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 (Integrity and Transparency Assessment : ITA) ตัวชี้วัดที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล ประกอบด้วย 5 ตัวชี้วัด ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 9.1 ข้อมูลพื้นฐาน ข้อมูลพื้นฐาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o1 โครงสร้าง โครงสร้าง o2 ข้อมูลผู้บริหาร ข้อมูลผู้บริหาร o3 อำนาจหน้าที่ อำนาจหน้าที่ o4 ข้อมูลการติดต่อ ข้อมูลการติดต่อ   การประชาสัมพันธ์ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o5 ข่าวประชาสัมพันธ์ 1. ข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานตามอำนาจหน้าที่หรือภารกิจของหน่วยงาน https://www.finearts.go.th/main/categorie/general-news  2. การแสดง QR code แบบวัด EIT ของหน่วยงาน ที่ ดาวน์โหลด จากระบบ ITAS ไว้บนหน้าเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน เพื่อให้ผู้รับบริการหรือติดต่อราชการมีโอกาสได้มีส่วนร่วมในการประเมิน ITA ของหน่วยงาน   การปฏิสัมพันธ์ข้อมูล ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o6 Q&A Q&A   ตัวชี้วัดที่ 9.2 การบริหารงานและงบประมาณ แผนการดำเนินงานและงบประมาณ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o7 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน O7_1 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน 5 ปีO7_2 แผนยุทธศาสตร์หรือแผนพัฒนาหน่วยงาน 1 ปี o8 แผนและความก้าวหน้า               ในการดำเนินงานและการใช้จ่ายงบประมาณประจำปี 1.รายงานตามภารกิจจัดซื้อจัดจ้างปี25672.รายงานแผนและความก้าวหน้าณ31มีคปี2567 o9 รายงานผลการดำเนินงานประจำปี รายงานผลการดำเนินงานปี2566   การปฏิบัติงาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o10 คู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงาน   ของเจ้าหน้าที่ คู่มือที่ 1 กระบวนการตรวจสอบภายในคู่มือที่ 2 กระบวนการเอกสารโบราณคู่มือที่3_กระบวนการบริการสื่อสิ่งพิมพ์   การให้บริการและการติดต่อประสานงาน ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o11 คู่มือหรือแนวทางการให้บริการสำหรับผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ 1_คู่มือประชาชน_การทำสำเนาเอกสารจดหมายเหตุ2_คู่มือประชาชน_การซ่อมแซมเอกสารจดหมายเหตุ3_คู่มือประชาชน_การอนุญาตส่งหรือนำโบราณวัตถุออกนอกราชอาณาจักร o12 ข้อมูลสถิติการให้บริการ 1_ข้อมูลสถิติปี2566_Walk In2_ข้อมูลสถิติปี2566ด้าน E-service o13 E-Service E-Service   ตัวชี้วัดที่ 9.3 การจัดซื้อจัดจ้าง ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o14 รายงานการจัดซื้อจัดจ้าง             หรือการจัดหาพัสดุ รายการการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o15 ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับ การจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ ประกาศต่าง ๆ เกี่ยวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o16 ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้าง   หรือการจัดหาพัสดุ ความก้าวหน้าการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุ o17 รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้าง  หรือการจัดหาพัสดุประจำปี รายงานสรุปผลการจัดซื้อจัดจ้างหรือการจัดหาพัสดุประจำปี   ตัวชี้วัดที่ 9.4 การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o18 แผนการบริหารและ             พัฒนา  ทรัพยากรบุคคล   แผนปฏิบัติการด้านการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของกรมศิลปากร o19 รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล ประจำปี   รายงานผลการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล กรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 o20 ประมวลจริยธรรมสำหรับ เจ้าหน้าที่ของรัฐ 1. ประมวลจริยธรรมสำหรับเจ้าหน้าที่ของรัฐ 2. ข้อกำหนดจริยธรรมของกรมศิลปากร o21 การขับเคลื่อนจริยธรรม การขับเคลื่อนจริยธรรม1. การจัดตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนเรื่องจริยธรรม คำสั่งของกรมศิลปากร ที่ 279/2566 เรื่องแต่งตั้งคณะทำงานขับเคลื่อนจริยธรรม  ลงวันที่ 28 เมษายน 25662. แนวปฏิบัติ Dos & Don’t เพื่อลดความสับสนเกี่ยวกับพฤติกรรมสีเทา ออละเป็นแรวทางในการประพฤติตนทางจริยธรรม ที่จัดขึ้นโดยหน่วยงาน 3. การฝึกอบรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567 โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗  รวมทั้ง เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗” เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น จำนวน ๑ วัน ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักหอสมุดแห่งชาติ โดย  ผู้ทรงคุณวุฒิ (นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ) เป็นประธาน  ในการเปิดโครงการฝึกอบรม ฯ   ตัวชี้วัดที่ 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส การจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o22 แนวปฏิบัติการจัดการ เรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ_ส่วน1แนวปฏิบัติการจัดการเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ_ส่วน2 o23 ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ช่องทางแจ้งเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ o24 ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบ ข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการรทุจริตและประพฤติมิชอบ   การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o25 การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม การเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม   ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต ประกอบด้วย 2 ตัวชี้วัด ดังนี้ ตัวชี้วัดที่ 10.1 การดำเนินการเพื่อป้องกันการทุจริตในประเด็นสินบน นโยบาย No Gift Policy ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o26 ประกาศเจตนารมณ์ นโยบาย No Gift Policy จากการปฏิบัติหน้าที่ 1 NoGiftPolicyปี2567ไทยและอังกฤษ2 NoGiftPolicyปี2567ไทยและอังกฤษ o27 การสร้างนโยบาย  No Gift Policy 1. การฝึกอบรม ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2567โครงการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ “การยกระดับการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗  รวมทั้ง เสริมสร้างความรู้ความเข้าใจในเรื่องการสร้างวัฒนธรรม No Gift Policy ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗ และจริยธรรมของเจ้าหน้าที่ของกรมศิลปากร ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๗” เมื่อวันที่ ๒๙ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๗ เวลา ๐๘.๓๐ - ๑๖.๐๐ น จำนวน ๑ วัน ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักหอสมุดแห่งชาติ  โดย  ผู้ทรงคุณวุฒิ (นางสาวพิมพ์พรรณ ไพบูลย์หวังเจริญ) เป็นประธานในการเปิดโครงการฝึกอบรม ฯ o28 รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy รายงานผลตามนโยบาย No Gift Policy o29 รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา รายงานการรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดโดยธรรมจรรยา   การประเมินความเสี่ยงเพื่อป้องกันการทุจริต ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o30 การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน การประเมินความเสี่ยงการทุจริตในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับสินบน o31 รายงานผลการดำเนินการ เพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี  รายงานการดำเนินการ เพื่อจัดการความเสี่ยงการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจำปี พ.ศ. 2566   ตัวชี้วัดที่ 10.2 การส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส แผนป้องกันการทุจริต ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบข้อมูล o32 แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต แผนปฏิบัติการป้องกันการทุจริต พ.ศ. 2567 o33 รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริตประจำปี  รายงานผลการดำเนินการป้องกันการทุจริต ประจำปี พ.ศ. 2566 o34 มาตรการสส่งเสริมคุณธรรม      และความโปร่งใสภายในหน่วยงาน มาตรการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน o35 รายงานผลการดำเนินการ         เพื่อส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใสภายในหน่วยงาน รายงานผลการดำเนินการเ_ส่วนที่1รายงานผลการดำเนินการเ_ส่วนที่2รายงานผลการดำเนินการเ_ส่วนที่3   .................................................................................      



Messenger