...

ดาราศาสตร์

ระวี  ภาวิไล.  ดาราศาสตร์สำหรับเตรียมอุดมศึก แผนกวิทยาศาสตร์.  พิมพ์ครั้งที่ ๒.  ธนบุรี :

     สำนักพิมพ์ธนบุรีศึกษา, ๒๕๐๔.  ๒๐๓ หน้า

     โลกคือดาวพระเคราะห์เป็นพื้นฐานของวิชาดาราศาสตร์ ปราชญ์ชาวกรีกชื่ออาร์ชีดัสเป็นผู้ค้นพบว่าโลกเป็นทรงกลมด้วยทฤษฎีว่าเมื่อเรือแล่นไปไกลจะมองเห็นเสากระโดงเรือหลังสุดเลยหมุนรอบตัวเองในเวลา ๒๓ ชั่วโมง ๕๖ นาที ๔.๐๙๑ วินาที เรียกว่าวันของดวงดาว หรือวันดาราคติของโลกจะหมุนไปทางดาวฤกษ์ที่เรียกว่าดาวเหนือ และโคจรไปรอบดวงอาทิตย์ ทั้งมนุษย์และสัตว์ได้อาศัยบรรยากาศเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับสิ่งมีชีวิต และบรรยากาศจะห่อหุ้มหรือเป็นเกราะกำบังรังสีที่ร้ายแรงจากดวงอาทิตย์ และมีโอโซนคอยดูดรังสีแม่เหล็กไฟฟ้าและมีการหักเหของแสงเนื่องชั้นบรรยากาศ การวัดความร้อนที่เกิดจากรังสีของดวงอาทิตย์ก็คือ การวัดความเข้มของรังสีจากดวงอาทิตย์บนพื้นโลกนั่นเอง การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์เป็นขุมพลังงานอันมหาศาล ซึ่งแบ่งออกสองส่วนคือคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า และรังสีคอสมิก การสำรวจดวงอาทิตย์ต้องใช้กล้องรับแสงอาทิตย์แล้วฉายไปติดจอเหมือนฉายภาพนิ่งแล้วเลื่อนแว่นมอง  นักดาราศาสตร์ชื่อ เฮล ได้สังเกตเห็นกลุ่มเมฆไอเคลเซียมเขาเรียกว่าฟลอคคูลี  ดวงจันทร์เป็นดาวดวงใหญ่ขนาดเดียวกับดวงอาทิตย์ มีแสงสะท้อนจากโลกที่ได้รับดวงอาทิตย์เรียกว่า Earthshine หมุนรอบตัวเองช้า ๆ ลักษณะพื้นผิวเป็นหลุมเป็นบ่อจึงเรียกว่าภูเขาไฟรอยแตกของผิวดวงจันทร์ถูกเรียกว่าเหว อุณหภูมิบนขอบดวงจันทร์ที่ตั้งฉากกับดวงอาทิตย์วัดได้ ๑๓๔˙เซนติเกรด และอุณหภูมิที่ใกล้ขอบดวงจันทร์เทียบได้กับอุณหภูมิบนพื้นโลกตอนรุ่งเช้าและตอนเย็น ๖๗˙เซนติเกรด ดาวอังคารสามารถดูได้ด้วยกล้องโทรทัศน์เดินวนรอบดวงอาทิตย์แบบรูปไข่  ระบบสุริยะ วัตถุขนาดเล็กในระบบสุริยะ ดาวเคราะห์ประกอบด้วยดาวพระพุธ ดาวพระศุกร์ ดาวพระเสาร์ ดาวยูเรนัส ดาวเนปจูน ดาวพลูโต  อุกกาบาต คือ ดาวพระเคราะห์ที่ตกลงมาด้วยความเร็วสูงพบชั้นบรรยากาศจึงเกิดเป็นแสงสว่างตามที่เราเห็นแล้วเรียกกันว่าผีพุ่งใต้ และยังมีดาวหาง ดาวฤกษ์อีกมากมายบนท้องฟ้าที่เรามองเห็นในยามค่ำคืน

(จำนวนผู้เข้าชม 567 ครั้ง)