C
C
C
Thai
English
หน้าหลัก
กรมศิลปากร
ประวัติและบทบาทหน้าที่
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ผู้บริหารกรมศิลปากร
ผู้บริหารระดับสูง
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้อำนวยการสำนักส่วนกลาง
ผู้อำนวยการสำนักศิลปากร
CIO
โครงสร้างองค์กร
บุคลากรดีเด่น
ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ
แผนงาน/โครงการ/งบประมาณ
หน่วยงานในสังกัด
บริการประชาชน
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง
อุทยานเสมือนจริง
GIS (ระบบภูมิสารสนเทศแหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม)
NSW (ขอนำเข้า/ส่งออก โบราณวัตถุศิลปวัตถุ)
e-service (จดแจ้งการพิมพ์, ขอเลข ISSN, ISBN, CIP)
คลังข้อมูลดิจิทัล
จำหน่ายบัตรการแสดงออนไลน์
จำหน่ายหนังสือกรมศิลปากร
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ
อื่นๆ
คู่มือและมาตรฐานกรมศิลปากร
แผ่นพับนำชม
เอกสารดาวน์โหลด
แจ้งและร้องเรียน
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
แบบสำรวจความพึงพอใจ
แหล่งเรียนรู้
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุทยานประวัติศาสตร์
หอสมุดแห่งชาติ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครงาน
จัดซื้อจัดจ้าง
ข่าว Feed
คลังวิชาการ
องค์ความรู้
ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ด้านภาษาและหนังสือ
ด้านเอกสารจดหมายเหตุ
ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ด้านสถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ความรู้ด้านภาษา หนังสือ และเอกสาร
ความรู้ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ความรู้สถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
วีดิทัศน์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์.
กฏระเบียบ
กฎหมายและระเบียบ
ITA
ติดต่อ
Thai
English
Login
Register
search
หน้าหลัก
กรมศิลปากร
ประวัติและบทบาทหน้าที่
วิสัยทัศน์และพันธกิจ
ผู้บริหารกรมศิลปากร
ผู้บริหารระดับสูง
ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้เชี่ยวชาญ
ผู้อำนวยการสำนักส่วนกลาง
ผู้อำนวยการสำนักศิลปากร
CIO
โครงสร้างองค์กร
บุคลากรดีเด่น
ยุทธศาสตร์/แผนปฏิบัติราชการ
แผนงาน/โครงการ/งบประมาณ
หน่วยงานในสังกัด
บริการประชาชน
พิพิธภัณฑ์เสมือนจริง
อุทยานเสมือนจริง
GIS (ระบบภูมิสารสนเทศแหล่งมรดกศิลปวัฒนธรรม)
NSW (ขอนำเข้า/ส่งออก โบราณวัตถุศิลปวัตถุ)
e-service (จดแจ้งการพิมพ์, ขอเลข ISSN, ISBN, CIP)
คลังข้อมูลดิจิทัล
จำหน่ายบัตรการแสดงออนไลน์
จำหน่ายหนังสือกรมศิลปากร
ศูนย์ข้อมูลข่าวสารฯ
อื่นๆ
คู่มือและมาตรฐานกรมศิลปากร
แผ่นพับนำชม
เอกสารดาวน์โหลด
แจ้งและร้องเรียน
คำถามที่พบบ่อย (FAQ)
แบบสำรวจความพึงพอใจ
แหล่งเรียนรู้
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ
อุทยานประวัติศาสตร์
หอสมุดแห่งชาติ
หอจดหมายเหตุแห่งชาติ
ข่าวและกิจกรรม
ข่าวประชาสัมพันธ์
ข่าวกิจกรรม
ปฏิทินกิจกรรม
ข่าวรับสมัครงาน
จัดซื้อจัดจ้าง
ข่าว Feed
คลังวิชาการ
องค์ความรู้
ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ด้านภาษาและหนังสือ
ด้านเอกสารจดหมายเหตุ
ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ด้านสถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
ความรู้ทั่วไป
ความรู้ด้านดนตรีและนาฏศิลป์
ความรู้ด้านภาษา หนังสือ และเอกสาร
ความรู้ด้านโบราณคดีและพิพิธภัณฑ์
ความรู้สถาปัตยกรรมและช่างศิลป์
วีดิทัศน์
หนังสืออิเล็กทรอนิกส์.
กฏระเบียบ
กฎหมายและระเบียบ
ITA
ติดต่อ
หน้าแรก
คลังวิชาการ
ความรู้ทั่วไป
ภาพจิตรกรรมไทยฝีพระหัตถ์พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชมพรเขตอุดมศักดิ์
จำนวนผู้เข้าชม 340
“ภาพจิตรกรรมไทยฝีพระหัตถ์” พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชมพรเขตอุดมศักดิ์ ภายในอุโบสถวัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท
ภายในอุโบสถของวัดปากคลองมะขามเฒ่า จังหวัดชัยนาท มีภาพจิตรกรรมฝาผนังที่สำคัญอย่างมาก โเขียนขึ้นในสมัยรัชกาลที่๕ ราวปี พ.ศ.๒๔๖๔ โดยประมาณ ตั้งอยู่ในส่วนของผนังหุ้มกลองด้านหน้าพระประธาน คือภาพจิตรกรรมฝีพระหัตถ์ของ “กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์” พระองค์ทรงเขียนเรื่องราวเกี่ยวกับพุทธประวัติ ตอนมารผจญ ด้วยฝีพระหัตถ์ของพระองค์เองร่วมกับข้าราชบริพาร ส่วนผนังด้านล่างระหว่างช่องประตูเขียนภาพจิตรกรรมเรื่องพุทธประวัติ ตอนนางสุชาดาถวายข้าวมธุปายาส โดยมี หม่อมเจ้าจารุภัตรา อาภากร พระธิดาองค์โต ของกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ มีส่วนร่วมในการเขียนภาพจิตรกรรมนี้ด้วย ทั้งสองพระองค์ได้ทรงเขียนภาพโดยใช้เทคนิคจิตรกรรมไทยแบบประเพณี ผสมผสานกับการเขียนภาพจิตรกรรมเทคนิคแบบตะวันตกจะเห็นได้จากมีการใช้แสงเงาเข้ามาเขียนภาพ การจัดองค์ประกอบภาพทำได้อย่างลงตัว มีการเขียนสอดแทรกภาพเหมือนข้าราชบริพารที่ตามเสด็จด้วย เช่น นายทหารแม่ครัว เป็นต้น ส่วนสำคัญอีกอย่างหนึ่งที่ไม่เหมือนจิตรกรรมฝาผนังที่อื่นๆ คือในส่วนลายชายริ้วด้านซ้าย และขวาของภาพจิตรกรรม มีการจารึกอักษรขอมตัวบรรจง ซึ่งกรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ทรงมีความรู้ความสามารถในด้านคาถาเป็นอย่างมาก โดยมีพระครูวิมลคุณากร หรือที่รู้จักกันคือ หลวงปู่ศุข เกสโร เป็นพระอาจารย์ที่กรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ให้ความเคารพนับถือเป็นอย่างมาก คาถาที่เขียนไว้คือ คาถา “ชัยมังคะละอัฏฐะกะคาถา”หรือเรียกกันสั้นๆว่า คาถาพาหุง ซึ่งเป็นคาถาที่แปลว่า “การชนะมารทั้ง ๘ ประการ อันเป็นมงคลสูงสุดของพระพุทธเจ้า” จารึกอักษรขอมเป็นคาถาที่สอดคล้องกับจิตรกรรม และเรื่องราวของภาพมารผจญเป็นอย่างมาก และมีจารึกต่อท้ายด้วยตัวอักษรไทยความว่า พระเจ้าพี่ยาเธอกรมหมื่นชุมพรเขตอุดมศักดิ์ นายเทียบ นายรังสี นายแฉล้ม นายผ่อน ได้เขียนไว้ ลงท้ายความว่าเพื่อศุขประโยชน์ภายหน้า นิพพาน ปัจโย โหตุ
อ้างอิง :
รายงานการอนุรักษ์จิตรกรรมวัดปากคลองมะขามเฒ่า พ.ศ๒๕๔๔ หนังสือประวัติพระครูวิมลคุณากร
เรียบเรียง :
นายศุภกิจจ์ เสถียรอินทร์ นักวิชาการช่างศิลป์ปฏิบัติการ กลุ่มอนุรักษ์จิตรกรรมและประติมากรรม กองโบราณคดี กรมศิลปากร